ระบบหมุนเวียนโลหิตของคน
ประกอบไปด้วย
1.
หัวใจ
( Heart )
2.
หลอดเลือด
( Blood
Vessel )
3.
เลือด
( Blood )
1. หัวใจ ( Heart )
หัวใจของคนตั้งอยู่ในบริเวณทรวงอก ระหว่างปอดทั้งสองข้าง ค่อนไปทางซ้าย
ภายในมีลักษณะ เป็นโพรงแบ่งออกเป็น 4 ห้อง โดยแบ่งเป็นห้องบน 2 ห้อง เรียกว่า เอเตรียม ( Atrium ) ห้องล่าง 2 ห้อง เรียกว่า เวนตริเคิล ( Ventricle ) หัวใจห้องบนซ้ายและห้องล่างซ้ายมี
ลิ้นไบคัสปิด ( Bicuspid ) คั่นอยู่ ส่วนห้องบนขวาและล่างขวามีลิ้นไตรคัสปิด ( Tricuspid) คั่นอยู่ ซึ่งลิ้นทั้ง 2 ทำหน้าที่คอยเปิด-ปิด เพื่อไม่ให้ ้เลือด ไหลย้อนกลับ หัวใจทำหน้าที่สูบฉีดเลือดโดยการบีบตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อหัวใจเป็นจังหวะ ทำให้เลือดไหลไปตามหลอดเลือดต่าง ๆ
ลิ้นไบคัสปิด ( Bicuspid ) คั่นอยู่ ส่วนห้องบนขวาและล่างขวามีลิ้นไตรคัสปิด ( Tricuspid) คั่นอยู่ ซึ่งลิ้นทั้ง 2 ทำหน้าที่คอยเปิด-ปิด เพื่อไม่ให้ ้เลือด ไหลย้อนกลับ หัวใจทำหน้าที่สูบฉีดเลือดโดยการบีบตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อหัวใจเป็นจังหวะ ทำให้เลือดไหลไปตามหลอดเลือดต่าง ๆ
เราสามารถตรวจสอบการทำงานของหัวใจ
โดยการจับชีพจร
อัตราการเต้นของชีพจรของคนในสภาพปกติอยู่ระหว่าง 60-80 ครั้งต่อนาที
อัตราการเต้นของชีพจรของคนในสภาพปกติอยู่ระหว่าง 60-80 ครั้งต่อนาที
รูป แสดง หัวใจคน
และการหมุนเวียนของเลือดผ่านหัวใจ
2. หลอดเลือด ( Blood Vessel ) การหมุนเวียนของเลือดจากหัวใจไปและกลับจากส่วนต่าง
ๆ ของร่างกายนั้นต้อง อาศัยหลอดเลือด ซึ่งมีอยู่ ทั่วร่างกาย หลอดเลือดในร่างกายคนเราแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1. หลอดเลือดอาร์เทอรี ( Arteries ) เป็นหลอดเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เลือดที่อยู่ในหลอดเลือดนี้เป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนมาก ยกเว้นเลือดที่ส่งไปยังปอด ซึ่งเป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มาก หลอดเลือดอาร์เทอรีมีผนังหนาไม่มีลิ้นกั้น มีความแข็งแรง เพื่อให้มีความทนทานต่อแรงดันเลือดที่ถูกฉีดออกจากหัวใจ
2. หลอดเลือดเวน ( Vein ) เป็นหลอดเลือดที่นำเลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสู่หัวใจ เลือดที่อยู่ในหลอดเลือดนี้เป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สูง ยกเว้นเลือดที่นำจากปอดมายังหัวใจ จะเป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนสูง ภายในหลอดเลือดนี้จะมีลิ้นป้องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ
3. หลอดเลือดฝอย ( Capillaries ) เป็นหลอดเลือดที่มีขนาดเล็กละเอียดเป็นฝอยติดต่ออยู่ระหว่างแขนงเล็ก ๆ ของหลอดเลือดอาร์เทอรีและหลอดเลือดเวน หลอดเลือดฝอยมีผนังบางมาก เป็นบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนสารอาหาร แก๊ส และสิ่งต่าง ๆ ระหว่างเลือดกับเซลล์ของร่างกาย
1. หลอดเลือดอาร์เทอรี ( Arteries ) เป็นหลอดเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เลือดที่อยู่ในหลอดเลือดนี้เป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนมาก ยกเว้นเลือดที่ส่งไปยังปอด ซึ่งเป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มาก หลอดเลือดอาร์เทอรีมีผนังหนาไม่มีลิ้นกั้น มีความแข็งแรง เพื่อให้มีความทนทานต่อแรงดันเลือดที่ถูกฉีดออกจากหัวใจ
2. หลอดเลือดเวน ( Vein ) เป็นหลอดเลือดที่นำเลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสู่หัวใจ เลือดที่อยู่ในหลอดเลือดนี้เป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สูง ยกเว้นเลือดที่นำจากปอดมายังหัวใจ จะเป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนสูง ภายในหลอดเลือดนี้จะมีลิ้นป้องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ
3. หลอดเลือดฝอย ( Capillaries ) เป็นหลอดเลือดที่มีขนาดเล็กละเอียดเป็นฝอยติดต่ออยู่ระหว่างแขนงเล็ก ๆ ของหลอดเลือดอาร์เทอรีและหลอดเลือดเวน หลอดเลือดฝอยมีผนังบางมาก เป็นบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนสารอาหาร แก๊ส และสิ่งต่าง ๆ ระหว่างเลือดกับเซลล์ของร่างกาย
3 เลือด ( Blood ) ในร่างกายคนเรามีเลือดอยู่ประมาณร้อยละ
9-10 ของน้ำหนักตัว เลือดมีส่วนประกอบ ที่สำคัญ 2 ส่วน คือ
1. ส่วนที่เป็นของเหลว ซึ่งเรียกว่า น้ำเลือด หรือพลาสมา ( Plasma ) มีอยู่ประมาณร้อยละ55 ของปริมาณเลือดที่ไหลอยู่ในร่างกาย ในน้ำเลือดประกอบด้วยน้ำ ร้อยละ 91 นอกนั้นเป็นสารอื่น ๆ ได้แก่ สารอาหารต่าง ๆ เอนไซม์ ฮอร์โมน และแก๊ส รวมทั้งของเสียที่ร่างกายไม่ต้องการ เช่น ยูเรีย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้น น้ำเลือดทำหน้าที่ลำเลียงสารอาหาร เอนไซม์ ฮอร์โมน และแก๊สกลับไปเลี้ยงเซลล์ต่าง ๆ ของร่างกาย และลำเลียงของเสียต่าง ๆ มายังปอดเพื่อขับออกจากร่างกาย
2. ส่วนที่เป็นของแข็ง ได้แก่ เซลล์เม็ดเลือด และเกล็ดเลือด ซึ่งมีอยู่ประมาณร้อยละ 45 ของปริมาณเลือดทั้งหมด
2.1 เซลล์เม็ดเลือดมีอยู่ 2 ชนิด คือ
1) เซลล์เม็ดเลือดแดง ( Red Blood Cell ) มีรูปร่างค่อนข้างกลมแบน ตรงกลางบุ๋มเข้าหากัน เมื่อโตเต็มที่ไม่มีนิวเคลียส ส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นสารประเภทโปรตีนที่เรียกว่า ฮีโมโกลบิน ซึ่งมีเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ฮีโมโกลบิน มีสมบัต ิในการรวมตัว กับแก๊ส ออกซิเจน ได้ดีมาก เซลล์เม็ดเลือดแดงมีหน้าที่ลำเลียงแก๊สออกซิเจนไปยังเซลล์ต่าง ๆ ทั่วร่างกาย และลำเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กลับไปสู่ปอดเพื่อทำการแลกเปลี่ยนแก๊ส เซลล์เม็ดเลือดแดงสร้างที่ไขกระดูก และเซลล์เม็ดเลือดแดงมีอายุประมาณ 110-120 วัน หลังจากนั้นจะถูกส่งไปทำลายที่ตับและม้าม
2) เซลล์เม็ดเลือดขาว ( White Blood cell ) มีรูปร่างกลม ขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดง ไม่มีนิวเคลียส เซลล์เม็ดเลือดขาว ในร่างกาย มีอยู่หลายชนิด ทำหน้าที่ต่อต้านและทำลาย เชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม ที่เข้าสู่ร่างกาย แหล่งที่สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวได้แก่ ม้าม ไขกระดูก และต่อมน้ำเหลือง เซลล์เม็ดเลือดขาวมีอายุประมาณ 7-14 วัน ก็จะถูกทำลาย
2.2 เกล็ดเลือด ( Blood Platelet ) เป็นส่วนประกอบของเลือดที่ไม่ใช่เซลล์ มีขนาดเล็กมาก ไม่มีสี ไม่มีนิวเคลียส ทำหน้าที่ช่วยทำให้เลือดแข็งตัวเมื่อเลือดออกสู้ภายนอกร่างกาย และช่วยห้ามเลือดในกรณีที่เกิดบาดแผล โดยจับรวมตัวกันเป็นกระจุกร่างแหอุดรูของหลอดเลือดฝอยทำให้เลือดหยุดไหล แหล่งที่สร้างเก,ดเลือดได้แก่ ไขกระดูก เกล็ดเลือดมีอายุ 4 วันเท่านั้นก็จะถูกทำลาย
1. ส่วนที่เป็นของเหลว ซึ่งเรียกว่า น้ำเลือด หรือพลาสมา ( Plasma ) มีอยู่ประมาณร้อยละ55 ของปริมาณเลือดที่ไหลอยู่ในร่างกาย ในน้ำเลือดประกอบด้วยน้ำ ร้อยละ 91 นอกนั้นเป็นสารอื่น ๆ ได้แก่ สารอาหารต่าง ๆ เอนไซม์ ฮอร์โมน และแก๊ส รวมทั้งของเสียที่ร่างกายไม่ต้องการ เช่น ยูเรีย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้น น้ำเลือดทำหน้าที่ลำเลียงสารอาหาร เอนไซม์ ฮอร์โมน และแก๊สกลับไปเลี้ยงเซลล์ต่าง ๆ ของร่างกาย และลำเลียงของเสียต่าง ๆ มายังปอดเพื่อขับออกจากร่างกาย
2. ส่วนที่เป็นของแข็ง ได้แก่ เซลล์เม็ดเลือด และเกล็ดเลือด ซึ่งมีอยู่ประมาณร้อยละ 45 ของปริมาณเลือดทั้งหมด
2.1 เซลล์เม็ดเลือดมีอยู่ 2 ชนิด คือ
1) เซลล์เม็ดเลือดแดง ( Red Blood Cell ) มีรูปร่างค่อนข้างกลมแบน ตรงกลางบุ๋มเข้าหากัน เมื่อโตเต็มที่ไม่มีนิวเคลียส ส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นสารประเภทโปรตีนที่เรียกว่า ฮีโมโกลบิน ซึ่งมีเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ฮีโมโกลบิน มีสมบัต ิในการรวมตัว กับแก๊ส ออกซิเจน ได้ดีมาก เซลล์เม็ดเลือดแดงมีหน้าที่ลำเลียงแก๊สออกซิเจนไปยังเซลล์ต่าง ๆ ทั่วร่างกาย และลำเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กลับไปสู่ปอดเพื่อทำการแลกเปลี่ยนแก๊ส เซลล์เม็ดเลือดแดงสร้างที่ไขกระดูก และเซลล์เม็ดเลือดแดงมีอายุประมาณ 110-120 วัน หลังจากนั้นจะถูกส่งไปทำลายที่ตับและม้าม
2) เซลล์เม็ดเลือดขาว ( White Blood cell ) มีรูปร่างกลม ขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดง ไม่มีนิวเคลียส เซลล์เม็ดเลือดขาว ในร่างกาย มีอยู่หลายชนิด ทำหน้าที่ต่อต้านและทำลาย เชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม ที่เข้าสู่ร่างกาย แหล่งที่สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวได้แก่ ม้าม ไขกระดูก และต่อมน้ำเหลือง เซลล์เม็ดเลือดขาวมีอายุประมาณ 7-14 วัน ก็จะถูกทำลาย
2.2 เกล็ดเลือด ( Blood Platelet ) เป็นส่วนประกอบของเลือดที่ไม่ใช่เซลล์ มีขนาดเล็กมาก ไม่มีสี ไม่มีนิวเคลียส ทำหน้าที่ช่วยทำให้เลือดแข็งตัวเมื่อเลือดออกสู้ภายนอกร่างกาย และช่วยห้ามเลือดในกรณีที่เกิดบาดแผล โดยจับรวมตัวกันเป็นกระจุกร่างแหอุดรูของหลอดเลือดฝอยทำให้เลือดหยุดไหล แหล่งที่สร้างเก,ดเลือดได้แก่ ไขกระดูก เกล็ดเลือดมีอายุ 4 วันเท่านั้นก็จะถูกทำลาย
![คำอธิบาย: http://upic.me/i/y1/circulatory3.jpg](file:///C:\Users\FAMILY\AppData\Local\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image003.jpg)
วัคซีน เป็นเชื้อโรคที่ตายหรืออ่อนฤทธิ์ ฉีดเข้าร่างกายเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีขึ้นมาต่อต้านเชื้อโรคนั้น
ๆ
เซรุ่ม คือ แอนติบอดีที่ได้จากคนหรืสัตว์ซึ่งการให้เซรุ่มจะให้กับร่างกายในกรณีที่โรคนั้นแสดงอาการอย่างรวดเร็วและรุนแรง ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันไม่ทันและหรือไม่มีภูมิคุ้มกันมาก่อน
เซรุ่ม คือ แอนติบอดีที่ได้จากคนหรืสัตว์ซึ่งการให้เซรุ่มจะให้กับร่างกายในกรณีที่โรคนั้นแสดงอาการอย่างรวดเร็วและรุนแรง ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันไม่ทันและหรือไม่มีภูมิคุ้มกันมาก่อน
การหมุนเวียนเลือดในร่างกาย
1. เลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายซึ่งเป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนต่ำ จะไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา
(Right Atrium )
2. เมื่อหัวใจบีบตัวเลือดจะไหลจากหัวใจห้องบนขวา
ผ่านลิ้นหัวใจลงสู่ห้องล่างขวา ( Right Ventricle )
3. เมือหัวใจห้องล่างขวาบีบตัว เลือดจะไหลเข้าสู่หลอดเลือดไปยังปอด
เมื่อมีการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจน
เลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนสูงจะไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย ( Left
Atrium )
4. เมื่อหัวใจห้องบนซ้ายบีบตัว เลือดจะไหลผ่านลิ้นหัวใจลงสู่ห้องล่างซ้าย(Left
Ventricle )
5. เมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัว เลือดจะไหลเข้าสู่หลอดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง
ๆ ของร่างกาย และเมื่อเลือดมีปริมาณแก๊สออกซิเจนต่ำก็จะไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนชวาเป็นเช่นนี้เรื่อย
ๆ ไป
ระบบการหมุนเวียนเลือด
เมื่ออาหารถูกย่อยจนเล็กที่สุด
แพร่เข้าสู่ผนังลำไส้เล็กและแพร่ผ่านเข้าสู่เส้นเลือดแล้วจะเคลื่อนที่ไปสู่
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายพร้อมกับเลือด
ระบบการหมุนเวียนเลือด มีอวัยวะสำคัญที่เกี่ยวข้องได้แก่ หัวใจ เส้นเลือด และเลือด
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายพร้อมกับเลือด
ระบบการหมุนเวียนเลือด มีอวัยวะสำคัญที่เกี่ยวข้องได้แก่ หัวใจ เส้นเลือด และเลือด
เลือด(Blood) ประกอบด้วย น้ำเลือด หรือพลาสมา(Plasma) และเม็ดเลือดซึ่งประกอบด้วยเม็ดเลือดแดง
เม็ดเลือดขาว และเซลล์เม็ดเลือดหรือเกล็ดเลือด(Platelet) เม็ดเลือดแดงมีส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นโปรตีน
และเหล็กมีชื่อเรียกว่า เฮโมโกลบิน ก๊าซออกซิเจน จะรวมตัวกับเฮโมโกลบินแล้วลำเลียงไปใช้ยังส่วนต่าง ๆ ของ
ร่างกาย เม็ดเลือดขาวซึ่งผลิตโดยม้าม* จะทำหน้าที่ต่อสู้กับเชื้อโรคที่จะเข้าสู่ร่างกาย ส่วนเกล็ดเลือดจะเป็นตัวช่วยให้เลือดแข็งตัวเมื่อเกิดบาดแผล
น้ำเลือดประกอบด้วยน้ำประมาณร้อยละ 91 ที่เหลื่อเป็นสารอาหารต่าง ๆ เช่นโปรตีน วิตามิน แร่ธาตุ เอนไซม์ และก๊าซ
เส้นเลือด(Blood Vessel) คือท่อที่เป็นทางให้เลือดไหลเวียนในร่างกายซึ่งมี 3 ระบบ คือเส้นเลือดแดง
เส้นเลือดดำ และเส้นเลือดฝอย
หัวใจ(Heart) ตั้งอยู่ในทรวงอกระหว่างปอดทั้งสองข้างเอียงไปทางซ้ายของแนวกลางตัว ประกอบด้วยกล้ามเนื้อที่แข็งแรงภายในมี 4 ห้อง
-หัวในห้องบนซ้าย(Left atrium) มีหน้าที่ รับเลือดที่ผ่านการฟอกที่ปอด
-หัวใจห้องบนขวา(Right atrium) มีหน้าที่ รับเลือดที่ร่างกายใช้แล้ว
-หัวใจห้องล่างขวา(Right ventricle) มีหน้าที่ สูบฉีดเลือดไปฟอกที่ปอด
-หัวใจห้องล่างซ้าย(Left ventricle) มีหน้าที่ สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
ระหว่างหัวใจซีกซ้ายและซีกขวามีผนังที่เหนียว หนา และแข็งแรงกั้นไว้ และระหว่างห้องหัวใจด้านบนและ
ด้านล่างของแต่ละซีก มีลิ้นของหัวใจคอยปิดกั้นมิให้เลือดไหลย้อนกลับ ดังนั้น การไหลเวียนของเลือดจึงเป็นการไหลไปในทางเดียวกันตลอด ซึ่ง วิลเลียม ฮาร์วีย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เป็นคนแรกที่ค้นพบการหมุนเวียน
ของเลือด และชี้ให้เห็นว่า เลือดมีการไหลเวียนไปทางเดียวกัน
ภาพจาก http://www.heartandcoeur.com/celebrity/page_harvey.php
การไหลเวียนของเลือดเริ่มโดยห้องบนขวารับเลือดดำที่ร่างกายใช้แล้ว ส่งไปยังห้องล่างขวา ห้องล่างขวาจะฉีดเลือดดำไปฟอกที่ปอด ในขณะเดียวกัน เลือดแดงที่ผ่านการฟอกจากปอดจะเข้าสู่หัวใจทางห้องบนซ้ายแล้วส่งต่อมายังห้องล่างซ้าย หัวใจก็จะฉีดเลือดแดงออกจากห้องล้างซ้ายเข้าสู่เส้นเลือดใหญ่ ซึ่งต่อมาก็แยกออกเป็นเส้นเลือดเล็ก และเส้นเลือดฝอย เพื่อนำเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เลือดที่ใช้แล้วก็จะไหลกลับมาที่หัวใจทางห้องบนขวาอีก จะหมุนเวียนเช่นนี้ไปตลอดชีวิต เพื่อให้เห็นชัดเจนขอให้ดูแผนภาพต่อไปนี้
การไหลเวียนของเลือดเริ่มโดยห้องบนขวารับเลือดดำที่ร่างกายใช้แล้ว ส่งไปยังห้องล่างขวา ห้องล่างขวาจะฉีดเลือดดำไปฟอกที่ปอด ในขณะเดียวกัน เลือดแดงที่ผ่านการฟอกจากปอดจะเข้าสู่หัวใจทางห้องบนซ้ายแล้วส่งต่อมายังห้องล่างซ้าย หัวใจก็จะฉีดเลือดแดงออกจากห้องล้างซ้ายเข้าสู่เส้นเลือดใหญ่ ซึ่งต่อมาก็แยกออกเป็นเส้นเลือดเล็ก และเส้นเลือดฝอย เพื่อนำเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เลือดที่ใช้แล้วก็จะไหลกลับมาที่หัวใจทางห้องบนขวาอีก จะหมุนเวียนเช่นนี้ไปตลอดชีวิต เพื่อให้เห็นชัดเจนขอให้ดูแผนภาพต่อไปนี้
ซึ่งเราสามารถสรุปเป็นหน้าที่ของระบบหมุนเวียนโลหิตได้ดังนี้
1. นำอาหารและสารอื่น ๆ รวมทั้งออกซิเจนไปเลี้ยงเซลล์ของร่างกาย
2. นำคาร์บอนไดออกไซด์ไปขับออกทางปอดเพื่อแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนกลับมาใช้
3. ขับถ่ายน้ำของเสียซึ่งเกิดจากเมตาโบลิซึมเพื่อขับออกภายนอกร่างกาย
4. ช่วยควบคุมและรักษาดุลของสารน้ำภายในร่างกาย
5. ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้เป็นปกติ
ขณะหัวใจบีบตัวเลือดจะถูกดันออกไปตามหลอดเลือดจากหัวใจด้วยความดันสูงทำให้เลือดไปเลี้ยง
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ ขณะที่หัวใจรับเลือดเข้าไปนั้นก็จะมีความดันน้อยที่สุด ความดันเลือดที่แพทย์วัดออกมาได้ซึ่งมีหน่วยเป็นมิลลิเมตรของปรอทจึงมีสองค่า เช่น 110/70 มิลลิเมตรของปรอท
ตัวเลข 110 แสดงค่าของความดันเลือดขณะหัวใจบีบตัวเพื่อดันเลือดออกจากหัวใจ
ตัวเลข 70 แสดงค่าความดันเลือดขณะหัวใจคลายตัวรับเลือดเข้าสู่หัวใจ
ถ้าเราเอานิ้วมือจับที่ข้อมือด้านซ้าย จะพบว่ามีบางสิ่งบางอย่างเต้นตุ๊บ ๆ อยู่ภายใน สิ่งนั้นเรียกว่า ชีพจร
ชีพจรเป็นการหดตัวและขยายตัวของหลอดเลือดตามจังหวะการเต้นของหัวใจ โดยคนหนุ่มสาวปกติชีพจรจะเต้นประมาณ 70 – 80 ครั้ง /นาที ในวัยเด็กที่มีสภาพร่างการปกติชีพจรจะเต้นเร็วกว่าผู้ใหญ่ การออกกำลังกายก็มีผลต่ออัตราการเต้นของชีพจร การออกกำลังกายทำให้ร่างกายต้องการพลังงานสูงขึ้นกว่าปกติ จึงต้องมีการแลกเปลี่ยนแก๊สที่ปอดมากขึ้น การสูบฉีดเลือดจึงต้องสูงขึ้น จะพบว่าชีพจรก็จะเต้นเร็วขึ้น หัวใจสูบฉีดเลือดเร็วขึ้น
จึงกล่าวได้ว่าการเต้นของชีพจรสัมพันธ์กับระบบหายใจและระบบหมุนเวียนเลือดในร่างกาย
เครื่องมือที่ใช้ในการฟังการเต้นของชีพจรคือ สเตโทสโคป (stethoscope)
การปฏิบัติตนเพื่อดูแลรักษาอวัยวะภายในระบบ
1. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
2. อยู่ในที่อากาศบริสุทธิ์
3. พักผ่อนให้มาก เพราะการพักผ่อนนอนหลับจะทำให้หัวใจเต้นช้าลง
4. ออกกำลังกายให้เหมาะสมกับเพศและวัย
5. ทำจิตใจให้แจ่มใสร่าเริง ไม่เครียด
6. งดเว้นจากสิ่งเสพติดทุกชนิด
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ ขณะที่หัวใจรับเลือดเข้าไปนั้นก็จะมีความดันน้อยที่สุด ความดันเลือดที่แพทย์วัดออกมาได้ซึ่งมีหน่วยเป็นมิลลิเมตรของปรอทจึงมีสองค่า เช่น 110/70 มิลลิเมตรของปรอท
ตัวเลข 110 แสดงค่าของความดันเลือดขณะหัวใจบีบตัวเพื่อดันเลือดออกจากหัวใจ
ตัวเลข 70 แสดงค่าความดันเลือดขณะหัวใจคลายตัวรับเลือดเข้าสู่หัวใจ
ถ้าเราเอานิ้วมือจับที่ข้อมือด้านซ้าย จะพบว่ามีบางสิ่งบางอย่างเต้นตุ๊บ ๆ อยู่ภายใน สิ่งนั้นเรียกว่า ชีพจร
ชีพจรเป็นการหดตัวและขยายตัวของหลอดเลือดตามจังหวะการเต้นของหัวใจ โดยคนหนุ่มสาวปกติชีพจรจะเต้นประมาณ 70 – 80 ครั้ง /นาที ในวัยเด็กที่มีสภาพร่างการปกติชีพจรจะเต้นเร็วกว่าผู้ใหญ่ การออกกำลังกายก็มีผลต่ออัตราการเต้นของชีพจร การออกกำลังกายทำให้ร่างกายต้องการพลังงานสูงขึ้นกว่าปกติ จึงต้องมีการแลกเปลี่ยนแก๊สที่ปอดมากขึ้น การสูบฉีดเลือดจึงต้องสูงขึ้น จะพบว่าชีพจรก็จะเต้นเร็วขึ้น หัวใจสูบฉีดเลือดเร็วขึ้น
จึงกล่าวได้ว่าการเต้นของชีพจรสัมพันธ์กับระบบหายใจและระบบหมุนเวียนเลือดในร่างกาย
เครื่องมือที่ใช้ในการฟังการเต้นของชีพจรคือ สเตโทสโคป (stethoscope)
![คำอธิบาย: http://school.obec.go.th/msp/bullet.gif](file:///C:\Users\FAMILY\AppData\Local\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image013.gif)
1. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
2. อยู่ในที่อากาศบริสุทธิ์
3. พักผ่อนให้มาก เพราะการพักผ่อนนอนหลับจะทำให้หัวใจเต้นช้าลง
4. ออกกำลังกายให้เหมาะสมกับเพศและวัย
5. ทำจิตใจให้แจ่มใสร่าเริง ไม่เครียด
6. งดเว้นจากสิ่งเสพติดทุกชนิด
*ม้าม(Spleen) มีหน้าที่ผลิตเม็ดเลือดขาว
และทำลายเม็ดเลือดแดงและเกล็ดเลือดที่หมดอายุ
*ผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยด้วยนะคะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น